31 มี.ค. 2568
ลมปั๊มลม (Aircompressor) ทำหน้าที่ในการจ่ายลมให้กับอุปกรณ์ลมต่างๆ สามารถนำปั๊มลมไปใช้กับโรงงานอุตสาหกรรมตั้งแต่ขนาดเล็กจนถึงโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ปั๊มลมสามารถแบ่งออกได้เป็น 6 ประเภทด้วยกัน ได้แก่ปั๊มลมประเภทลูกสูบ (Piston Air Compressor)ปั๊มลมประเภทไดอะเฟรม (Diaphragm Air Compressor)ปั๊มลมประเภทสกรู (Screw Air Compressor)ปั๊มลมประเภทใบพัดเลื่อน (Sliding Vane Rotary Air Compressor)ปั๊มลมประเภทใบพัดหมุน (Roots Air Compressor)ปั๊มลมประเภทกังหัน (Redial and axial flow Air Compressor)
29 มี.ค. 2568
ปั๊มลมสำหรับงานคาร์แคร์และอุปกรณ์เสริม การทำความสะอาดรถยนต์ภายในและภายนอก ในปัจจุบันมีความสะดวกสะบายมาก เพราะมีธุรกิจคาร์แคร์เข้ามาตอบสนองต่อคนใช้รถยนต์ ดังนั้นธุรกิจคาร์แคร์จึงมีทุกที่ ทุกซอก ทุกมุม เปิดเพื่อรองรับคนใช้รถยนต์ส่วนบุคคล แต่ไม่มีความสะดวกในการทำความสะอาด ดูแลรถยนต์ ขัดเคลือบสี ทำความสะอาดกรองอากาศ บางร้านมีโปรโมชั่น ล้าง 10 ครั้ง ฟรี 1 ครั้ง ดังนั้นร้านคาร์แคร์จึงเป็นทางเลือกที่ดีที่สุด ในร้านคาร์แคร์นั้นภายในร้านจะมีใช้อุปกรณ์หลายอย่าง ในที่นี้จะขอกล่าวถึงอุปกรณ์ลมเท่านั้น
28 มี.ค. 2568
เครื่องปั๊มลม (Air Compressor) เป็นอุปกรณ์สำคัญที่ใช้ในการสร้างแรงดันอากาศและจ่ายพลังงานลม ให้กับเครื่องมือและระบบต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นในอุตสาหกรรม งานก่อสร้าง หรือการใช้งานทั่วไปในอู่ซ่อมรถและภาคเกษตรกรรม การเข้าใจถึงหลักการทำงานของเครื่องปั๊มลมแต่ละประเภท จะช่วยให้คุณเลือกใช้งานได้อย่างเหมาะสม และเพิ่มประสิทธิภาพให้กับงานของคุณนอกจากนี้ เครื่องปั๊มลมแต่ละชนิดยังมีคุณสมบัติและข้อดีที่แตกต่างกัน ทำให้เหมาะสมกับสถานการณ์การใช้งานที่หลากหลาย ตั้งแต่งานที่ต้องใช้ลมอัดแรงดันสูงในโรงงานอุตสาหกรรม ไปจนถึงเครื่องมือลมสำหรับงานซ่อมบำรุง บทความนี้จะช่วยให้คุณเข้าใจเกี่ยวกับหลักการทำงานของเครื่องปั๊มลมแต่ละประเภท ประโยชน์ในการใช้งาน วิธีดูแลรักษา พร้อมทั้งวิธีใช้งานอย่างปลอดภัยและประหยัดพลังงาน
25 มี.ค. 2568
คุณสงสัยหรือไม่ว่าปั๊มสุญญากาศทำงานอย่างไร? การทำความเข้าใจกลไกเบื้องหลังอุปกรณ์อันทรงพลังเหล่านี้สามารถช่วยให้คุณเห็นคุณค่าของบทบาทสำคัญในอุตสาหกรรมต่างๆ ในบทความนี้ เราจะเจาะลึกโลกอันน่าทึ่งของปั๊มสุญญากาศ และเปิดเผยหลักวิทยาศาสตร์ที่อยู่เบื้องหลังการทำงานของปั๊มสุญญากาศ ไม่ว่าคุณจะเป็นวิศวกรผู้ช่ำชองหรือเพียงแค่สนใจที่จะเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับเทคโนโลยีนี้ บทความนี้จะให้ข้อมูลเชิงลึกอันมีค่าเกี่ยวกับการทำงานภายในของปั๊มสุญญากาศปั๊มสุญญากาศทำงานอย่างไร: คู่มือฉบับสมบูรณ์ปั๊มสุญญากาศ : Anทำความเข้าใจเกี่ยวกับปั๊มสุญญากาศประเภทต่างๆหลักการทำงานของปั๊มสุญญากาศการใช้งานและประโยชน์ของปั๊มสุญญากาศปั๊มสุญญากาศเป็นส่วนประกอบสำคัญในการใช้งานทางอุตสาหกรรมหลายประเภท รวมถึงการผลิต การดูแลสุขภาพ และการวิจัย ในฐานะผู้ให้บริการชั้นนำด้านโซลูชันเครื่องอัดอากาศและปั๊มสุญญากาศ Jinyuan ทุ่มเทเพื่อให้ความรู้แก่ลูกค้าเกี่ยวกับการทำงานภายในของอุปกรณ์ที่สำคัญเหล่านี้ ในบทความนี้ เราจะเจาะลึกความซับซ้อนของปั๊มสุญญากาศ สำรวจกลไก การใช้งาน และคุณประโยชน์ของปั๊มสุญญากาศปั๊มสุญญากาศ : An
24 มี.ค. 2568
มีเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมแบบเซนติฟูกัลประเภทใดบ้างเรามีโซลูชันเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมแบบเซนติฟูกัลที่เป็นมาตรฐานหรือที่กำหนดเอง โบลเวอร์แบบเซนติฟูกัล ที่มีแรงดันสูงสุด 1.5 บาร์ เครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมไร้น้ำมันแบบแรงเหวี่ยงแรงดัน สูงสุด 13 บาร์ เครื่องอัดอากาศแบบ Multistage แรงดัน สูงสุด 205 บาร์ในประเภทเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมแบบเซนติฟูกัลหรือแรงเหวี่ยงจะมีรูปแบบการทำงานหลัก 3 รูปแบบ:เครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมแนวแกนแบบหลายจังหวะ ทำงานด้วยความเร็วค่อนข้างต่ำ ซึ่งส่วนใหญ่จะขับเคลื่อนโดยตรงด้วยมอเตอร์เหนี่ยวนำ ใบพัดหลายใบพัดเรียงตัวเป็นแนวเดียวกันเพื่อค่อยๆ เพิ่มแรงดันขึ้นเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมเทอร์โบเกียร์ นั้นขับเคลื่อนโดยมอเตอร์เหนี่ยวนำที่หมุนด้วยความเร็วที่ค่อนข้างต่ำ ใบพัดตามแนวรัศมีทำงานที่ความเร็วสูงเนื่องจากระบบกระปุกเกียร์ จำเป็นต้องใช้แบริ่งพิเศษสำหรับความเร็วสูงเหล่านี้ซึ่งส่วนมากใช้แบริ่งแบบไฮโดรไดนามิก ใบพัดสามารถติดตั้งได้ทั้งแบบเดี่ยวหรือหลายใบพัดโดยขึ้นอยู่กับแรงดันและหรือการไหลที่ต้องการเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมเทอร์โบความเร็วสูง นั้นเป็นเทอร์โบตามแนวรัศมีโดยไม่มีเฟืองใดๆ มอเตอร์ขับใบพัดโดยตรง ซึ่งหมายความว่ามอเตอร์จะต้องทำงานด้วยความเร็วสูงโดยต้องใช้เทคโนโลยีมอเตอร์ชนิดแม่เหล็กถาวร เพื่อให้วางใจได้ในความเร็วสูงเหล่านี้จึงมีการใช้แบริ่งแม่เหล็กเพื่อหลีกเลี่ยงการสัมผัสหรือการสึกหรอ
22 มี.ค. 2568
เราใช้น้ำมันเครื่องเกรดอะไรเติมปั๊มลม คำถามนี้พบบ่อยเหมือนกัน น้ำมันปั๊มลม หรือ Compresor Oil จัดอยู่ในหมวดของน้ำมันหล่อลื่นอุตสาหกรรม ( Industril Lubricating Oil ) ปั๊มลมนั้นเปรียบเหมือนเครื่องจักรชนิดหนึ่งในโรงงาน ซึ่งถ้าเกิดมีปัญหาจะทำให้ระบบการผลิตมีปัญหาได้ ภายในระบบของปั๊มลมนั้น จะมีน้ำมันเครื่องปั๊มลมเพื่อลดการสึกหล่อและระบายความร้อน ปั๊มลมนั้นมีหลายชนิดคังนั้นแต่ละชนิดของปั๊มลมก็ใช้น้ำมันที่แตกต่างกันเรามาลองดูตามรายละเอียดดังนี้
21 มี.ค. 2568
สำหรับชุดกรองลม (Main Line Air Filter) จะมีหน้าที่คือ ดักจับฝุ่นละอองและความชื้นที่มากับลมอัดที่ผ่านเข้ามาในชุดกรองลม เมื่อลมไหลผ่านไส้กรองออกมาแล้ว ก็จะเป็นลมที่สะอาดแต่ยังมีความชื้นอยู่ เพราะหน้าที่หลักของชุดกรองลมคือดักจับฝุ่นละออง อาจจะช่วยดักจับน้ำและความชื้นบ้างแต่ไม่มาก ซึ่งชุดไส้กรองของชุดกรองลม จะมีความละเอียดที่หลากหลายให้เลือกใช้ ตั้งแต่ 0.01 -5 ไมครอน ซึ่งตัวไส้กรองนี้มาจากทำจากโลหะซินเตอร์ กระดาษไวร์โคลท (Wire Cloth) ไหมเทียม หรือฝ้ายคล้ายรวงผึ้ง ซึ่งความละเอียดของไส้กรองนี้จะแตกต่างกันออกไปขึ้นอยู่กับ ฝุ่นละอองและความชื้นที่ปนมากับลมอัดวิธีเลือกขนาดของชุดกรองลม จะดูที่ค่าสองชนิดคือค่าความละเอียดของไส้กรองและค่าอัตราของลมอัดที่ไหลผ่านไส้กรอง ซึ่งโดยปกติในห้องเครื่องปั๊มลมจะติดตั้งชุดกรองลม อย่างน้อย 2 ชุด ชุดไส้กรองหยาบ 3-5 ไมครอน จะติดตั้งที่ท่อลม ที่ออกมาจากเครื่องปั๊มลม ส่วนชุดไส้กรองลมละเอียด 0.01-0.2 ไมครอน จะติดตั้งที่ท่อลมก่อนที่จะจ่ายลมอัดเข้าไปที่เครื่องจักรและอุปกรณ์ใช้ลมอัดสำหรับการเลือกขนาดของชุดกรองลมที่ดูค่าอัตราของลมอัดที่ไหลผ่าน ให้เลือกขนาดที่มีอัตราลมอัดไหลผ่านมากกว่าอัตราการผลิตลมอัดของเครื่องปั๊มลม 50-80 % ซึ่งจะหาขนาดของชุดกรองลมได้ดังนี้ (ในที่นี้จะคิดที่ 80 % และขนาดของเครื่องปั๊มลม 6.4 ลูกบาศก์เมตรต่อนาที)
20 มี.ค. 2568
การดูแลรักษาปั๊มลม เครื่องปั๊มลมนั้นเป็นตัวทำหน้าที่ในการอัดลมให้มีแรงดันสูงตามที่ผู้ใช้ต้องการรูปแบบการใช้งานที่แตกต่างกันออกไปล้วนต้องการบำรุงรักษาให้คงสภาพการใช้งานที่ดีต่อเนื่อง เพราด้วยตัวเครื่องสามารถที่จะนำไปประยุกต์ใช้ได้หลากหลายรูปแบบปั๊มลมหรือ เครื่องอัดลม ปั๊มอัดอากาศมีหน้าที่ในการสูบอัดอากาศจากภายนอกเข้ามายังภายในตัวถังเก็บลมตัวปั๊มอัดอากาศจะประกอบไปด้วยส่วนของชุดสกรูและเสื้อสูบที่มีครีบในการระบายความร้อนที่จะช่วยในการลดการเสียดสีและแรงเสียดทานของชุดสกรูรวมไปถึงความร้อนที่โดยแรงลมอัดเข้าไปด้วย มอเตอร์ไฟฟ้าเป็นต้นกำลังที่ใช้ในการผลิตลม อันดับแรกในการซื้อเราต้องตรวจสอบตั้งแต่ภายนอก
19 มี.ค. 2568
ปั๊มลมมีหลายชนิดที่ใช้งานในงานต่าง ๆ โดยสามารถแบ่งออกเป็นประเภทหลัก ๆ ได้ดังนี้ ปั๊มลมลูกสูบ (Piston Air Compressor)Single Stage: มีลูกสูบหนึ่งหรือสองลูก ใช้สำหรับแรงดันต่ำถึงกลางTwo Stage: มีลูกสูบสองขั้นตอน ใช้สำหรับแรงดันสูงปั๊มลมสกรู (Screw Air Compressor)Oil-Injected: ใช้ระบบน้ำมันในการหล่อลื่นและระบายความร้อนOil-Free: ไม่มีการใช้น้ำมัน เหมาะสำหรับงานที่ต้องการลมบริสุทธิ์ปั๊มลมใบพัดหมุน (Rotary Vane Air Compressor)Lubricated: ใช้น้ำมันหล่อลื่นOil-Free: ไม่มีการใช้น้ำมันปั๊มลมแรงดันสูง (High-Pressure Air Compressor)Reciprocating High-Pressure Compressors: ใช้ลูกสูบDiaphragm High-Pressure Compressors: ใช้แผ่นไดอะแฟรมปั๊มลมแบบน้ำมัน (Oil-Lubricated Air Compressor)Splash Lubricated: น้ำมันถูกส่งไปหล่อลื่นส่วนต่าง ๆ โดยการกระเด็นPressure Lubricated: น้ำมันถูกส่งไปหล่อลื่นโดยแรงดันปั๊มลมแบบไม่มีน้ำมัน (Oil-Free Air Compressor)Piston Type: ใช้ลูกสูบแต่ไม่มีการใช้น้ำมันScroll Type: ใช้การเลื่อนแบบเกลียวเพื่ออัดลมปั๊มลมแรงเหวี่ยง (Centrifugal Air Compressor)Single Stage: มีการอัดลมในขั้นตอนเดียวMulti Stage: มีการอัดลมในหลายขั้นตอนปั๊มลมใบพัด (Vane Air Compressor)Sliding Vane: ใบพัดเลื่อนเข้าออกจากรูในโรเตอร์Rotary Vane: ใบพัดหมุนในตัวเรือนทรงกระบอกปั๊มลมแบบเลื่อนเกลียว (Scroll Air Compressor)Single Scroll: ใช้เกลียวเดี่ยวในการอัดลมTwin Scroll: ใช้เกลียวคู่ในการอัดลมปั๊มลมแบบไดอะแฟรม (Diaphragm Air Compressor)Hydraulic Diaphragm: ใช้ไฮดรอลิกในการขับเคลื่อนไดอะแฟรมMechanical Diaphragm: ใช้ระบบกลไกในการขับเคลื่อนไดอะแฟรมปั๊มลมแบบเลื่อนเกลียว (Scroll Air Compressor)Oil-Free: ไม่มีการใช้น้ำมันOil-Lubricated: ใช้น้ำมันหล่อลื่นปั๊มลมแบบ Roots BlowerTwin Lobe: มีสองใบพัดTriple Lobe: มีสามใบพัดปั๊มลมแบบ Turbo (Turbo Air Compressor)Axial Turbo: ใช้แรงดันจากการหมุนใบพัดในแนวแกนRadial Turbo: ใช้แรงดันจากการหมุนใบพัดในแนวรัศมีการเลือกปั๊มลมให้เหมาะสมกับการใช้งานแต่ละประเภทมีความสำคัญมาก เนื่องจากแต่ละชนิดของปั๊มลมมีลักษณะการทำงานและประสิทธิภาพที่แตกต่างกัน นี่คือตัวอย่างของการใช้งานที่เหมาะสมกับปั๊มลมแต่ละชนิด:
17 มี.ค. 2568
ปัญหาผิดปกติของ ปั๊มลม นั้นเกิดขึ้นได้เมื่อใช้งานปั๊มไปได้ซักระยะเวลาหนึ่ง ชิ้นส่วนต่างๆของปั๊มลมมักจะเกิดการสึกหรอหรือการเสื่อมสภาพของชิ้นส่วนนั้นๆของปั๊มลมเอง ซึ่งก็ถือว่าเป็นเรื่องปกติมากใน ปั๊มลมที่ถูกใช้งานเป็นประจำ หรือในทุกๆความถี่ของการใช้งานเช่นกัน ปั๊มลมที่ใช้วัสดุคุณภาพเกรดดีก็อาจจะมีค่าเสื่อมช้าลงหน่อย ส่วนปั๊มลมที่เป็นรุ่นกลางๆหรือราคาถูกลงมาก็จะเสื่อมเร็ว ไปตามคุณภาพของวัสดุภายในและการออกแบบของแต่ ละรุ่น ด้วยปัจจัยนี้เลยมีหลายคนตั้งคำถามว่า แล้วจะรู้ได้ยังไงว่า ปั๊มลม เริ่มจะมีปัญหาแล้ว เพื่อที่จะได้รีบแก้ปัญหารวมถึงเรื่องการบำรุงรักษาเพื่อทำให้ปั๊มลมทำงานได้เต็มประสิทธิภาพ และไม่เกิดอันตรายต่อผู้ใช้งาน
15 มี.ค. 2568
หากว่าคุณต้องเลือกปั๊มลมที่เหมาะสมสำหรับงานของคุณ แต่ตัดสินใจไม่ได้ว่าจะเลือกระหว่างปั๊มลม โรตารีหรือปั๊มลมออยฟรี ดีเพราะทั้งสองก็เป็นประเภทปั๊มลมที่ได้รับความนิยมอย่างมากในปัจจุบันนี้ ปั๊มทั้งสองประเภทมีข้อดีและข้อเสียแตกต่างกัน ทำให้ผู้ใช้เข้าใจความต้องการและคุณลักษณะของปั๊มแต่ละตัวก่อนตัดสินใจ บทความนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้คำแนะนำในการเลือกปั๊มที่เหมาะสมที่สุดไม่ว่าจะเป็นปั๊มลมโรตารี หรือปั๊มลมทางเลือกแบบ oil-free (ไร้น้ำมัน) สำหรับงานเฉพาะเพื่อช่วยผู้อ่านในการตัดสินใจเลือกซื้อได้จากข้อมูลในบทความนี้ ถ้าพร้อมแล้วไปอ่านกันเลย
14 มี.ค. 2568
ปั๊มลม Scroll เป็นปั๊มลมอีกชนิดหนึ่งที่เป็นที่ยอมรับในอุตสาหกรรมขนาดเล็ก ถึงขนาดกลาง โดยคุณสมบัติของปั๊มลมชนิดนี้คือ เป็นปั๊มลมชนิดไร้น้ำมัน ปัจจุบัน จะเป็นเทคโนโลยีที่ใช้กันค่อนข้องเยอะในอุตสาหกรรมอาหาร และอุตสาหกรรมทางการแพทย์ อาทิเช่น โรงพยาบาล คลินิกทำฟันต่าง ๆ โดยในหัวข้อนี้เราจะมาอธิบายการทำงานของปั๊มลมแบบไร้น้ำมัน หรือ Scroll oil free air compressor ให้ทราบกันScroll oil free air compressor แปลความหมายตรงตัวคือ เครื่องอัดอากาศแบบไร้น้ำมัน โดยใช้ Airend ที่เป็นตัวหลักในการอัดอากาศเป็นชนิด Scroll type สำหรับปั๊มลมชนิดนี้ ทาง เดลต้าคอมเพรสเซอร์ ได้มีการจำหน่ายตั้งแต่ขนาด 10 50 hp โดยขนาดที่แตกต่างกันไป จะแตกต่างกันที่จำนวนของ หัว Scroll, หัว Scroll จำนวน 1 หัว จะขับโดยมอเตอร์ขนาด 5 hp กรณี ต้องการปั๊มลม scroll ขนาด 20 hp เครื่องอัดอากาศจะประกอบไปด้วย หัว Scroll จำนวน 4 หัว และมีมอเตอร์จำนวน 4 ตัว ขนาด ตัวละ 5 hp ขับแต่ละหัว Scroll ข้อดีของปั๊มลมแบบ Scroll นั้นคือ เมื่อหัว Scroll หัวใดหัวหนึ่งเกิดการชำรุดหรือเสียหาย หัว Scroll จำนวนที่เหลือยังสามารถทำงานได้ตามปกติ แสดงว่า เมื่อเครื่องมีปัญหา ปั๊มลมแบบ Scroll จะยังสามารถทำงานได้เพียงแต่ปริมาณลมจะลดลงตามจำนวนหัว ทำให้การผลิตใน Production ไม่จำเป็นต้อง Shutdoen 100% อาจะ Drop ลงบ้างเพียงเล็กน้อย อีกทั้งอะไหล่สิ้นเปลืองแทบจะไม่มีเลย มีเพียงแค่ Air filter และ สายพานเท่านั้นที่จะต้องเปลี่ยนตามชั่วโมงการทำงานของเครื่อง
11 มี.ค. 2568
ปั๊มลมไร้น้ำมัน Puma FORCE (พูม่า ฟอร์ซ) เป็นหนึ่งในรุ่นที่ได้รับความนิยมจากแบรนด์ Puma เนื่องจากมีจุดเด่นหลายอย่างที่เหมาะกับการใช้งานในหลากหลายรูปแบบ โดยเฉพาะงานที่ต้องการอากาศสะอาดและแรงดันลมที่สม่ำเสมอข้อดีของ Puma FORCE ปั๊มลมไร้น้ำมัน ไม่มีน้ำมันปนเปื้อน เพราะเป็น Oil-Free หรือ ไร้น้ำมัน ทำให้ลมที่ออกมาสะอาด เหมาะกับงานที่ต้องการความบริสุทธิ์ เช่น งานพ่นสี งานทันตกรรม อุตสาหกรรมอาหาร และงานเครื่องมือแพทย์ เสียงเงียบกว่าปั๊มลมทั่วไป มีการออกแบบให้ทำงานเงียบ ลดเสียงรบกวน จึงเหมาะสำหรับการใช้งานในบ้าน หรือสถานที่ที่ต้องการความเงียบ รอบเร็ว อัดลมไว มีรอบหมุนสูง ช่วยให้อัดลมเร็ว เติมลมได้ไวกว่าเมื่อเทียบกับปั๊มลมประเภทอื่น ๆ ดูแลง่าย ไม่มีค่าใช้จ่ายเรื่องน้ำมัน ไม่ต้องเติมหรือเปลี่ยนน้ำมัน ลดภาระค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษา ทนทาน อายุการใช้งานยาวนาน ผลิตจากวัสดุคุณภาพสูง ช่วยให้ปั๊มทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและใช้งานได้นาน เหมาะกับงานหลากหลายประเภท ใช้ได้ทั้ง งานช่าง งานซ่อมแซม งานเฟอร์นิเจอร์ งานพ่นสี และงานที่ต้องการลมสะอาด
8 มี.ค. 2568
เครื่องมือลมแบบใช้ลม เช่น กาพ่นสีและเครื่องพ่น สามารถทำให้งานสีที่น่าเบื่อนั้นสำเร็จได้เร็วและง่ายขึ้นมาก หากคุณมีปั๊มลม ซึ่งเครื่องพ่นสีนั้นใช้กันอย่างแพร่หลายในอุตสาหกรรมยานยนต์และการก่อสร้าง แต่อย่างไรก็ตามปั๊มลมที่เหมาะสมต้องใช้แรงดันและปริมาตรของอากาศอัดที่เหมาะสมซึ่งจำเป็นสำหรับงานที่มีความเชี่ยวชาญสูงเหล่านี้
7 มี.ค. 2568
ปั๊มลมโรตารี่เป็นเครื่องอัดอากาศประเภทหนึ่งที่ใช้กลไกการหมุนเพื่อดูดและอัดอากาศเข้าไปในถังเก็บลม โดยทั่วไปปั๊มลมโรตารี่จะมีโครงสร้างที่แตกต่างจากปั๊มลมลูกสูบ (Piston Air Compressor) ซึ่งใช้การเคลื่อนที่ขึ้นลงของลูกสูบในการอัดอากาศ
12 ก.พ. 2568
ปั๊มลมคือเครื่องจักรตัวหนึ่งที่ทำงานหนักที่สุดในโรงงาน ซึ่งในหลาย ๆ สถานที่ ปั๊มลมมีการทำงานยาวนานถึง 24 ชั่วโมงต่อวัน โดยแทบไม่มีเวลาหยุดพักเครื่องจักรเลย ดังนั้นผู้ใช้ปั๊มลมทุกคนจึงจำเป็นต้องเข้าใจว่าแท้จริงแล้วมีปัจจัยอะไรบ้างที่ส่งผลต่อ reliability หรือการเสื่อมสภาพที่เกิดขึ้นกับเครื่องจักรของเรา เพื่อที่จะเลี่ยงการเกิด down time ให้ได้มากที่สุด ปัจจัยการเสื่อมสภาพของปั๊มลมสามารถแบ่งออกหลักๆ ได้เป็น 4 หัวข้อดังนี้
11 ก.พ. 2568
ปัจจุบันเครื่องอัดลมที่ใช้กันทั่วไปในโรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ มีหลากหลายประเภท หนึ่งในนั้นที่นิยมใช้กันมากคือเครื่องอัดลมแบบลูกสูบ (Piston Air Compressor) ซึ่งขับเคลื่อนด้วยสายพาน นิยมใช้ในอุตสาหกรรมขนาดเล็กถึงขนาดกลาง เช่น อู่ซ่อมรถ ร้านยางรถยนต์ อู่พ่นสี งานไม้เฟอร์นิเจอร์ งานทันตกรรม ฯลฯ การใช้งานง่าย ไม่ยุ่งยาก ต้นทุนในการรักษาต่ำ มีขนาดให้เลือกหลากหลายตั้งแต่ ½ แรงม้า จนถึง 15 แรงม้า ซึ่งค่อนข้างครอบคลุมหลากหลายธุรกิจ ดูแลรักษาง่าย เพียงแค่เปลี่ยนถ่ายน้ำมันเครื่องของเครื่องอัดลมโดยเฉพาะ ทุก 500 ช.ม. ถ่ายน้ำออกจากถังลมทุกวันหลังเลิกใช้งาน และรักษาความสะอาดบริเวณหัวเครื่องอัดลมลมไม่ให้มีคราบดำหรือฝุ่นเกาะซึ่งสามารถทำได้ด้วยตัวเอง
10 ก.พ. 2568
ปั๊มลมแบบ Oil-Free หรือ ปราศจากน้ำมัน เป็นเครื่องอัดอากาศที่ออกแบบมาให้ทำงานโดยไม่ต้องใช้น้ำมันหล่อลื่นภายในกระบอกสูบหรือกลไกหลักของเครื่องปั๊มลม ซึ่งช่วยให้ได้อากาศที่สะอาด ปราศจากน้ำมัน เหมาะสำหรับอุตสาหกรรมที่ต้องการอากาศบริสุทธิ์ เช่น อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม อุตสาหกรรมยา และโรงพยาบาล
8 ก.พ. 2568
ปั๊มลม ถ้าจะให้เกริ่นนำคร่าวๆ นั้นก็คือเครื่องมือที่มีหน้าที่เอาไว้สร้างแรงดันลมขึ้นเพื่อนำแรงดันนี้ไปใช้ประโยชน์ต่างๆตามชนิดและอุปกรณ์เครื่องมือที่สร้างมารองรับการทำงานนี้ ยกตัวอย่างก็คือ เช่น รถก็ต้องใช้ไฟฟ้า หรือเติมน้ำมัน เข้าไปถึงจะใช้งานได้ อุปกรณ์ลมต่างๆก็เช่นกัน ก็ต้องอาศัยแรงดันลมที่ผลิตออกมาจากเครื่องอัดลม หรือ ปั๊มลม นี้เพื่อเป็นพลังงานเอาไว้ขับเคลื่อนการทำงานต่างชนิดกันไป โดยทั่วไปแล้วปั๊มลมมักจะถูกใช้ทั้งในงานภาคอุตสาหกรรมไปจนถึงใช้งานภายในบ้าน เพราะสามารถนำไปประยุกต์ใช้งาน ได้หลากหลาย ตามขนาดและความเหมาะสมของแต่ละงาน
7 ก.พ. 2568
การทำงานของปั๊มลม (Air Compressor) คือการอัดอากาศให้มีความดันสูงขึ้นจากสภาพอากาศปกติ เพื่อใช้เป็นแหล่งพลังงานในระบบต่าง ๆ เช่น การขับเคลื่อนเครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่ต้องการลมอัด เช่น ปืนยิงลม, เครื่องมือช่าง, ระบบทำความเย็น หรือใช้ในงานอุตสาหกรรมต่าง ๆหลักการทำงานของปั๊มลมจะมีขั้นตอนดังนี้:1. ดูดอากาศจากภายนอก: ปั๊มลมจะดูดอากาศที่มีอยู่ในบรรยากาศเข้าไปยังระบบผ่านทางช่องดูด (Intake).2. การอัดอากาศ: เมื่ออากาศเข้าไปในห้องอัด จะมีการบีบอัดอากาศให้มีความดันสูงขึ้น โดยใช้การเคลื่อนที่ของลูกสูบหรือโรเตอร์ที่ทำให้ปริมาณอากาศลดลงในขณะที่ความดันสูงขึ้น3. การขับเคลื่อนลูกสูบหรือโรเตอร์: ในบางประเภทของปั๊มลม เช่น ปั๊มลมลูกสูบ (Piston Compressor) ลูกสูบจะขยับขึ้นและลงเพื่อดึงอากาศเข้าไปแล้วอัดให้แน่น ในขณะที่ปั๊มลมโรเตอร์ (Rotary Screw Compressor) ใช้การหมุนของโรเตอร์เพื่ออัดอากาศ4. การระบายความร้อน: ขณะที่อากาศถูกอัด จะเกิดความร้อนสูงขึ้น ปั๊มลมบางรุ่นมีระบบระบายความร้อนด้วยน้ำหรืออากาศเพื่อรักษาอุณหภูมิไม่ให้สูงเกินไป5. การปล่อยลมอัดออก: หลังจากอัดอากาศจนถึงความดันที่ต้องการแล้ว จะมีการปล่อยลมที่มีความดันสูงออกไปใช้ในระบบต่าง ๆ หรือเก็บไว้ในถังเก็บลมการทำงานของปั๊มลมสามารถแบ่งประเภทตามกลไกการทำงาน เช่น: ปั๊มลมลูกสูบ (Piston Compressor): ใช้ลูกสูบในการอัดอากาศ ปั๊มลมสกรู (Rotary Screw Compressor): ใช้สกรูหมุนในการอัดอากาศ ปั๊มลมแบบใบพัด (Centrifugal Compressor): ใช้ใบพัดหมุนเพื่ออัดอากาศการเลือกใช้ปั๊มลมจะขึ้นอยู่กับความต้องการในการใช้งาน ความดันที่ต้องการ และลักษณะการใช้งานต่าง ๆ ของผู้ใช้
30 ม.ค. 2568
การรักษาปั๊มลมให้ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและยาวนานนั้นสำคัญมาก มีขั้นตอนหลักๆ ที่ควรปฏิบัติดังนี้: